วันพุธที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

ยางลบจากยางอินเดีย


ที่มาและความสำคัญ
ยางลบ คือเครื่องเขียนชนิดหนึ่งใช้สำหรับลบรอยดินสอหรือปากกาที่เขียนบนวัสดุ เช่น กระดาษดินสอ  ใช้ยางลบถูไปมาบนรอยดินสอที่ไม่ต้องการ การทำงานลบรอยคือเนื้อยางลบเสียดสีไปกับรอยดินสอที่ติดบนกระดาษ โดยกระดาษเสียหายน้อยมากเพราะยางลบมีความนุ่ม ยืดหยุ่น ยิ่งลบมากเท่าไรเนื้อยางลบก็หดหายไปเรื่อยๆยางลบนั้นทำมาจากยางเป็นหลักยางที่ว่าคือยางพารา แต่สำหรับยางลบที่ใช้งานเฉพาะทางก็อาจผลิตด้วยไวนิลพลาสติก หรือยางธรรมชาติอื่นๆ ก็ได้ ส่วนมากจะพบเป็นสีขาวแต่ก็สามารถผลิตให้เป็นสีอื่นๆ ได้แล้วแต่ส่วนผสมของวัสดุน้ำยางของต้นยางอินเดียมี สีขาวเมื่อเปลือกถูกตัดออก มี 2-3 ชนิดที่มียางมาก และเคยใช้ยางเหล่านี้มาทำประโยชน์ ยางอินเดียมีคุณสมบัติ คือ ช่วยในการดูดสารพิษ ฟอกอากาศและน้ำยางของต้นยางอินเดียนั้นยังมีความเหนียวเหมือนน้ำยางของต้นยางพาราอีกทั้งต้นยางอินเดียเป็นต้นไม้ที่ปลูกง่าย ชอบแสงและทนความร้อนได้ซึ่งเหมาะกับภูมิอากาศของประเทศไทย น้ำยางของต้นยางอินเดียมีสีขาวเมื่อเปลือกถูกตัดดอก มี 2-3 ชนิดที่มียางมาก และเคยใช้ยางเหล่านี้มาทำประโยชน์
(ที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%
B8%A5%E0%B8%9A)
 กลุ่มของข้าพเจ้าจึงมีความสนใจในคุณสมบัติของน้ำยางจากต้นยางอินเดียทำให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ เราจึงเริ่มต้นโดยการกรีดน้ำยางของต้นยางอินเดียมาบรรจุลงในภาชนะ น้ำยางจับตัวกันเป็นก้อน กลุ่มของข้าพเจ้าจึงนำน้ำยางของต้นยางอินเดียที่จับตัวกันเป็นก้อนมาลบรอยดินสอซึ่งผลที่ตามมาคือยางจากต้นยางอินเดียสามารถลบรอยดินสอได้ ดังนั้นทางกลุ่มของข้าพเจ้าจึงได้ศึกษาการทำยางลบจากต้นยางอินเดียเพื่อนำมาทดแทนยางลบที่ทำจากน้ำยางของต้นยางพาราที่ใช้ลบกันในปัจจุบันและยังสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายได้อีกด้วย

วัตถุประสงค์
                การศึกษาการทำยางลบจากน้ำยางต้นยาวงอินเดีย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการทำยางลบจากน้ำยางของต้นยางอินเดียครั้งนี้เพื่อศึกษาวิธีการทำยางลบจากน้ำยางของต้นยางอินเดีย

ขอบเขตของการศึกษา

 ด้านระยะเวลา

11 .-1 .2555

ด้านเนื้อหา

   คณะผู้จัดทำมุ่งที่จะศึกษาการนำน้ำยางจากต้นยางอินเดียมาทำเป็นยางลบ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
      1.นำยางลบที่ได้จากต้นยางอินเดียมาใช้ประโยชน์ได้
      2.เกิดองค์ความรู้ใหม่และนำไปเผยแผ่ทางอินเตอร์เน็ตได้

 เอกสารที่เกี่ยวข้อง



             การศึกษาการทำยางลบจากน้ำยางของต้นยางอินเดีย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการทำยางลบจากน้ำยางของต้นยางอินเดียและสามารถใช้ให้เป็นประโยชน์ในการศึกษาแก่ผู้ศึกษาได้  การค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องดังมีหัวข้อดังต่อไปนี้

1.ลักษณะของต้นยางอินเดีย

2.ต้นยางอินเดีย

3.วิธีการทำยางลบ
4.ประวัติความเป็นมาของยางลบ
1.ลักษณะของต้นยางอินเดีย
ชื่อวิทยาศาสตร์:  Ficusannlata
ชื่อวงศ์:  Moraceae
ชื่อสามัญ:  Banyan Tree, Rubber Plant, IndianRubber Tree
ชื่อพื้นเมือง:  ยางลบ,ลุง
ลักษณะทั่วไป:
    ต้น  เป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ลำต้นมีความสูงประมาณ 10-20 เมตร ลำต้นตรงแตกกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ บางชนิดก็เป็นพุ่มโปร่ง มีรากอากาศห้อยลงมาตามกิ่งก้านและลำต้น ผิวเปลือกเรียบสีขาวปนเทา
     ใบ  เป็นใบเดี่ยวแตกออกจากกิ่ง และส่วนยอดของลำต้น ใบออกเป็นคู่สลับกัน ลักษณะใบ ขนาดใบ และสีสันแตกต่างกันตามพันธุ์
    ดอก  เกิดภายในฐานรองดอกที่มีรูปยาวรีคล้ายผลออกเป็นคู่ข้างกิ่ง  ดอกเล็ก
    ฝัก/ผล  กลมรี เมื่อสุกสีเหลือง เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0 . 8 เซนติเมตร
การปลูก:  ปลูกในแปลงปลูก ปลูกในกระถาง
การดูแลรักษา:  ชอบดินร่วนซุย ต้องการปริมาณน้ำปานกลาง ชอบแสงแดดจัด
การขยายพันธุ์:  การปักชำ การตอน การใช้เมล็ด วิธีที่นิยมและได้ผลดีคือ การตอนและการปักชำ
การใช้ประโยชน์:
    -    ไม้ประดับ
    -    น้ำยางใช้ทำยาง
ถิ่นกำเนิด:  ประเทศอินเดีย หมู่เกาะมลายู
*เป็นพืชดูดสารพิษช่วยฟอกอากาศภายในบ้านและสำนักงานได้อย่างดีเยี่ยม
(ที่มา:http://www.nanagarden.com/%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B8%9E%E0%B8%A4%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%A2-10314-13.html)
  2.ต้นยางอินเดีย
ยาง (Ficus) เป็นพวกไม้ยืนต้นที่มีใบเขียวตลอดปี (evergreen) มีทั้งไม้พุ่มไม้เลื้อย และไม้ยืนต้น พบในป่าแถบร้อน บางชนิดขึ้นได้ดีในที่กลางแจ้ง และมีหลายชนิดที่ใช้เป็นไม้ประดับภายในอาคาร พวก Ficusอยู่ในวงศ์ Mal- berry หรือ Family Moraceaeส่วนมากมียางสีขาวเมื่อเปลือกถูกตัดดอก มี 2-3 ชนิดที่มียางมาก และเคยใช้ยางเหล่านี้มาทำประโยชน์ เช่นเดียวกับยางพาราในขณะนี้ Ficusเป็นชื่อลาตินที่มีความหมายว่า ต้นมะเดื่อ (Fig Tree) มีรากพิเศษขึ้นอยู่เหนือพื้นดิน พันธุ์ไม้ในพวก Ficusนี้มีในเมืองไทยมานานแล้ว ซึ่งรวมถึงต้นไทรย้อย (F. benjamina) คร่าง (F. altissima), โพธิ์ (F. relig-iosa) พันธุ์ไม้พวก Ficusนี้ใช้ปลูกเป็นไม้กระถางได้หลายชนิด และใช้ปลูกทำเป็นไม้แคระก็ได้ (Bonsai หรือ Miniature tree)
พันธุ์
ยางอินเดีย (Rubber Plant) Ficuselasticadecoraใช้ปลูกเป็นไม้กระถาง ต้นใหญ่ ใบใหญ่ หนาดก สีเขียวสดเป็นมัน
สวนยางอินเดียชนิดมีใบด่างสีเหลืองสลับเขียวอ่อนนั้น คือ Ficuselasticavariegataคือ ยางด่างที่ปลูกกันในเมืองไทย อ่อนแอ ไม่แข็งแรงเท่าพวก F. Elasticadecoraทั้งสองชนิดนี้มีปลูกกันมากในประเทศไทย เพราะขยายพันธุ์ได้ง่ายและเจริญเติบโตดี
นอกจากนี้มีอีกพันธุ์หนึ่งที่นิยมปลูกกันในเมืองไทยเป็นไม้ประดับกันคือ Ficuslyrataใบอาจใหญ่ยาวถึง 18 นิ้ว สีเขียวอ่อน ด้านไม่เป็นมันเหมือน F. elasticadecoraขอบใบอาจเป็นลอนขึ้นๆ ลงๆ เส้นใบนูนเห็นได้ชัด ใบสากคล้าย ๆ มีขนอยู่ทั่ว ๆ ไป ซึ่งเรียกลักษณะใบว่า ยางในรูปชื่อฝรั่ง (Fiddle shaped leaves)
Ficusparcellii เป็นพันธุ์จากหมู่เกาะแปซิฟิค ใบบางมีลายด่างสีขาวครีม และผลมีสีด่างด้วย
Ficusrubiginosa จากออสเตรเลีย เจริญเติบโตได้ง่าย เช่น F. elasticaสำหรับพันธุ์ Ficusอื่น ๆ ที่เลื้อยก็มี เช่น F. pumila (repens) ใช้ปลูกคลุมกำแพงที่เราเรียกกันว่า ตีนตุ๊กแก


การขยายพันธุ์
วิธีตัดชำเป็นวิธีที่ดีที่สุดสำหรับ Fi­cuselasticadecoraโดยตัดกิ่งที่แก่พอสมควรออกเป็นท่อน ๆ ท่อนหนึ่งที่ข้อและใบติดมาด้วยหนึ่งใบ นำไปชำในกระบะทรายหรือถ่านแกลบ ให้ใบที่ติดมากับต้นนั้นอยู่เหนือวัตถุ ปักชำเพื่อกันกิ่งชำล้ม อาจมีหลักไม้ผูกนาบกับใบไว้ด้วย เพราะใบใหญ่และหนักกว่ากิ่งที่ตัดมาชำ ตาที่โคนใบจะแตกเป็นยอดต้นใหม่ขึ้นพร้อมทั้งรากจะแตกออกได้ไม่ยากนัก ส่วนยางด่าง (F. elasticavariegata) นั้น การตอนได้ผลดีกว่าการปักชำ เพราะธรรมชาติอ่อนแออยู่แล้วในเมืองไทย ถ้าปักชำก็โตช้าและรูปร่างสูงชลูดไม่ค่อยงามนัก ข้อเสียของยางด่างอีกข้อหนึ่งก็คือทิ้งใบและใบร่วงตามโคนต้นได้ง่าย ใบที่มีส่วนต่าง ๆ ถูกแดดมากอาจไหม้เกรียมได้ง่าย ๆ
การตอน เป็นวิธีขยายพันธุ์ยางอินเดียที่นิยมทำกับส่วนยอดของต้น เพราะจะได้ต้นใหม่ที่มีรูปร่างทรงสวยงามทันใจ การตอนก็ตอนแบบธรรมดา ถึงแม้ยางจะไหลออกมาเวลาขวั้นต้น ก่อนหุ้มดินก็ไม่เป็นอุปสรรคอะไร ประมาณ 10-15 วัน รากก็งอกออกแล้ว ในทางการค้านั้นใช้ยางอินเดียปลูกลงในดินกลางแจ้ง เมื่อต้นยังอ่อนอยู่จะขึ้นเป็นกิ่งเดียวสูงชลูด ถ้าหากไม่มีไม้ค้ำจุนแล้วก็จะโอนเอน ทำให้แตกตาด้านข้างของกิ่งออกมา ดังนั้นในทางการค้าจึงนิยมตอนออกเสียก็จะได้ต้นใหม่ที่มียอดเป็นพุ่มพวงสวยงาม แล้วตอที่ตัดมานั้นก็จะแตกยอดเป็นแขนงใหม่ ตอนไปได้อีกหลายยอด ส่วนตอที่อยู่ต่ำใต้จากยอดที่ตอนไปนั้น ก็ตัดมาทำกิ่งปักชำได้อีก จึงทำให้การขยายพันธุ์ได้ปริมาณมากและเพียงพอในทางการค้า
ดินที่ใช้ปลูกยางอินเดียนั้นควรเป็นดินร่วน ที่มีการระบายน้ำได้ดี และมีปุ๋ยพอสมควร โดยเฉพาะที่ปลูกในกระถางนั้น ควรให้ปุ๋ยน้ำอ่อน ๆ บ้างบางครั้ง และควรทำความสะอาดใบด้วยน้ำสบู่บ้าง จะทำให้ใบมีสีเขียวสดเป็นมัน และทำให้เจริญเติบโตได้ดีขึ้นด้วย
พวกยางอินเดียนี้มีรากอากาศหรือรากพิเศษที่งอกกอกมาจากลำต้นเหนือพื้นดินขึ้นมาด้วย เช่นเดียวกับรากต้นไทร (Ficusbenjamina) นอกจากการตอน การปักชำแล้ว บางชนิดยังใช้วิธีทับกิ่งได้ผลดีกว่าวิธีอื่น ๆ ด้วย เช่น พวกตีนตุ๊กแก (F. pumila)
(ที่มา:  http://www.thaikasetsart.com/%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%
AD%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%A2/)
3.วิธีการทำยางลบ
                การทำยางลบสามารถทำได้จากธรรมชาติแต่ต้องใช้เทคโนโลยีแบบยางแห้ง คือ นำยางธรรมชาติ มาผสมกับสารเคมีที่สำคัญ คือ กำมะถัน สารตัวเร่ง สารกระต้น สี สารช่วยขัดและสารช่วยทำความสะอาด บดผสมรวมกันแล้วนำไปทำให้เป็นเส้นริ้ว ขนาดตามต้องการ และนำไปอบด้วยไอน้ำยางเกิดการวัลคาไนซ์ (ทำใหสุก) แล้วจึงตัดเป็นก้อนตามขนาดที่ต้องการ
(ที่มา: http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=0da1198b578209b1)

4.ประวัติความเป็นมาของยางลบ
               ข้อมูลจากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรีบนอินเตอร์เน็ต ระบุว่า ยางลบ อเมริกันเรียก eraser อังกฤษเรียก rubber คือเครื่องเขียนชนิดหนึ่งใช้สำหรับลบรอยดินสอหรือปากกาที่เขียนบนวัสดุ เช่น กระดาษดินสอส่วนมากจึงมักจะมียางลบติดมาด้วยเพื่อใช้ควบคู่กัน
                  วิธีใช้ใช้ยางลบถูไปมาบนรอยดินสอที่ไม่ต้องการ การทำงานลบรอยคือเนื้อยางลบเสียดสีไปกับรอยดินสอที่ติดบนกระดาษ โดยกระดาษเสียหายน้อยมากเพราะยางลบมีความนุ่ม ยืดหยุ่น ยิ่งลบมากเท่าไรเนื้อยางลบก็หดหายไปเรื่อยๆแต่ที่ยางลบไม่สามารถลบปากกาได้นั้นเพราะปากกาใช้น้ำหมึกที่เขียนแล้วซึมลงในเนื้อกระดาษ ไม่ได้เหลือค้างไว้อย่างรอยดินสอ จึงติดแน่นกว่ายางลบจึงลบไม่ออก แต่ยางลบชนิดแข็งจะขูดเอาผิวหน้าของกระดาษออกไปจนลบหมึกออกหากลบแรงไปบางทีกระดาษขาดเลยก็มี
                      ยางลบนั้นทำมาจากยางเป็นหลักยางที่ว่าคือยางพารา แต่สำหรับยางลบที่ใช้งานเฉพาะทางก็อาจผลิตด้วยไวนิลพลาสติก หรือยางธรรมชาติอื่นๆ ก็ได้ ส่วนมากจะพบเป็นสีขาวแต่ก็สามารถผลิตให้เป็นสีอื่นๆ ได้แล้วแต่ส่วนผสมของวัสดุ
                     ประวัติยางลบที่ปลายดินสอผู้คนในสมัยก่อนใช้ขนมปังสีขาวที่ไม่มีขอบเพื่อลบรอยดินสอแกรไฟต์และถ่านหินซึ่งวิธีนี้บางครั้งยังมีการใช้อยู่โดยศิลปินสมัยใหม่
                     ในปีค.ศ.1770 วิศวกรชาวอังกฤษชื่อ เอ็ดเวิร์ด แนร์น (Edward Nairne) ได้ชื่อว่าเป็นผู้คิดค้นยางลบที่ทำจากยางเป็นคนแรกต้นตอมาจากการที่เอ็ดเวิร์ดไปหยิบก้อนยางแทนที่จะเป็นขนมปังมาถูรอยดินสอโดยไม่ได้ตั้งใจ และค้นพบคุณสมบัติในการลบของยางจากนั้นจึงเริ่มผลิตยางลบออกขาย และมีการรายงานว่ายางลบของเขามีราคา 3 ชิลลิงต่อครึ่งลูกบาศก์นิ้ว ซึ่งแพงมากในสมัยนั้น
                     อย่างไรก็ตามยางลบก็ไม่ได้ทำให้เกิดความสะดวกสบายไปมากกว่าขนมปังเนื่องจากยางลบในขณะนั้นเน่าเสียและย่อยสลายได้เหมือนขนมปัง ต่อมาในปีค.ศ.1839 ชาร์ลส์ กูดเยียร์(Charles Goodyear) ค้นพบกระบวนการวัลคาไนเซชั่น (vulcanization) ซึ่งเป็นวิธีการรักษายางและทำให้เป็นวัสดุที่คงทนถาวรยางลบชนิดนี้จึงเป็นที่นิยมจนถึงปัจจุบัน
                     เมื่อวันที่ 30 มีนาคมค.ศ.1858 ไฮเมน ลิปแมน (Hymen Lipman) จากฟิลาเดลเฟีย มลรัฐเพนซิลเวเนียสหรัฐอเมริกาจดสิทธิบัตรในการติดยางลบเข้ากับปลายดินสออีกข้างหนึ่งเป็นครั้งแรกแต่ในภายหลังถูกยกเลิกเนื่องจากเป็นเพียงการนำอุปกรณ์สองชนิดประกอบเข้าด้วยกัน มากกว่าที่จะเป็นผลิตภัณฑ์ตัวใหม่
                    ประเภทของยางลบในท้องตลาดมีหลายเกรด ตามชนิดของวัสดุและคุณภาพ มีตั้งแต่ราคาก้อนละไม่กี่บาทมีสกรีนลายเนื้อไม่ค่อยดีเพราะทำให้กระดาษเสีย ขึ้นมาจนถึงยางลบทั่วไปสีขาวขุ่นเนื้อค่อนข้างแข็ง มีขี้ยางลบเป็นขุยๆ ผงๆ ราคาปานกลาง
                    ยางลบชนิดที่มีการพัฒนาขึ้นมาให้ไม่มีขี้ยางลบ คือ ชนิด non dust เนื้อจะเหนียวถ้าตั้งใจลบดีๆ ขี้ยางลบจะติดกันออกมาเป็นเส้นยาวๆ ได้ และชนิดที่เขียนว่าพลาสติก อีเรเซอร์ (Plastic Eraser) เป็นประเภทเนื้อเหนียวลักษณะคล้ายชนิดไร้ฝุ่น non dust ยางลบที่ดีมีราคาแพงมีลักษณะคือเนื้อเหนียว ลบสะอาด ออกแรงน้อย
(ที่มา http://campus.sanook.com/u_life/knowledge_05266.php)

 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง


             การศึกษาการทำยางลบจากน้ำยางของต้นยางอินเดีย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการทำยางลบจากน้ำยางของต้นยางอินเดียและสามารถใช้ให้เป็นประโยชน์ในการศึกษาแก่ผู้ศึกษาได้  การค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องดังมีหัวข้อดังต่อไปนี้
1.ลักษณะของต้นยางอินเดีย
2.ต้นยางอินเดีย
3.วิธีการทำยางลบ
4.ประวัติความเป็นมาของยางลบ
1.ลักษณะของต้นยางอินเดีย
ชื่อวิทยาศาสตร์:  Ficusannlata
ชื่อวงศ์:  Moraceae
ชื่อสามัญ:  Banyan Tree, Rubber Plant, IndianRubber Tree
ชื่อพื้นเมือง:  ยางลบ,ลุง
ลักษณะทั่วไป:
    ต้น  เป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ลำต้นมีความสูงประมาณ 10-20 เมตร ลำต้นตรงแตกกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ บางชนิดก็เป็นพุ่มโปร่ง มีรากอากาศห้อยลงมาตามกิ่งก้านและลำต้น ผิวเปลือกเรียบสีขาวปนเทา
     ใบ  เป็นใบเดี่ยวแตกออกจากกิ่ง และส่วนยอดของลำต้น ใบออกเป็นคู่สลับกัน ลักษณะใบ ขนาดใบ และสีสันแตกต่างกันตามพันธุ์
    ดอก  เกิดภายในฐานรองดอกที่มีรูปยาวรีคล้ายผลออกเป็นคู่ข้างกิ่ง  ดอกเล็ก
    ฝัก/ผล  กลมรี เมื่อสุกสีเหลือง เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0 . 8 เซนติเมตร
การปลูก:  ปลูกในแปลงปลูก ปลูกในกระถาง
การดูแลรักษา:  ชอบดินร่วนซุย ต้องการปริมาณน้ำปานกลาง ชอบแสงแดดจัด
การขยายพันธุ์:  การปักชำ การตอน การใช้เมล็ด วิธีที่นิยมและได้ผลดีคือ การตอนและการปักชำ
การใช้ประโยชน์:
    -    ไม้ประดับ
    -    น้ำยางใช้ทำยาง
ถิ่นกำเนิด:  ประเทศอินเดีย หมู่เกาะมลายู
*เป็นพืชดูดสารพิษช่วยฟอกอากาศภายในบ้านและสำนักงานได้อย่างดีเยี่ยม
(ที่มา:http://www.nanagarden.com/%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B8%9E%E0%B8%A4%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%A2-10314-13.html)
  2.ต้นยางอินเดีย
ยาง (Ficus) เป็นพวกไม้ยืนต้นที่มีใบเขียวตลอดปี (evergreen) มีทั้งไม้พุ่มไม้เลื้อย และไม้ยืนต้น พบในป่าแถบร้อน บางชนิดขึ้นได้ดีในที่กลางแจ้ง และมีหลายชนิดที่ใช้เป็นไม้ประดับภายในอาคาร พวก Ficusอยู่ในวงศ์ Mal- berry หรือ Family Moraceaeส่วนมากมียางสีขาวเมื่อเปลือกถูกตัดดอก มี 2-3 ชนิดที่มียางมาก และเคยใช้ยางเหล่านี้มาทำประโยชน์ เช่นเดียวกับยางพาราในขณะนี้ Ficusเป็นชื่อลาตินที่มีความหมายว่า ต้นมะเดื่อ (Fig Tree) มีรากพิเศษขึ้นอยู่เหนือพื้นดิน พันธุ์ไม้ในพวก Ficusนี้มีในเมืองไทยมานานแล้ว ซึ่งรวมถึงต้นไทรย้อย (F. benjamina) คร่าง (F. altissima), โพธิ์ (F. relig-iosa) พันธุ์ไม้พวก Ficusนี้ใช้ปลูกเป็นไม้กระถางได้หลายชนิด และใช้ปลูกทำเป็นไม้แคระก็ได้ (Bonsai หรือ Miniature tree)
พันธุ์
ยางอินเดีย (Rubber Plant) Ficuselasticadecoraใช้ปลูกเป็นไม้กระถาง ต้นใหญ่ ใบใหญ่ หนาดก สีเขียวสดเป็นมัน
สวนยางอินเดียชนิดมีใบด่างสีเหลืองสลับเขียวอ่อนนั้น คือ Ficuselasticavariegataคือ ยางด่างที่ปลูกกันในเมืองไทย อ่อนแอ ไม่แข็งแรงเท่าพวก F. Elasticadecoraทั้งสองชนิดนี้มีปลูกกันมากในประเทศไทย เพราะขยายพันธุ์ได้ง่ายและเจริญเติบโตดี
นอกจากนี้มีอีกพันธุ์หนึ่งที่นิยมปลูกกันในเมืองไทยเป็นไม้ประดับกันคือ Ficuslyrataใบอาจใหญ่ยาวถึง 18 นิ้ว สีเขียวอ่อน ด้านไม่เป็นมันเหมือน F. elasticadecoraขอบใบอาจเป็นลอนขึ้นๆ ลงๆ เส้นใบนูนเห็นได้ชัด ใบสากคล้าย ๆ มีขนอยู่ทั่ว ๆ ไป ซึ่งเรียกลักษณะใบว่า ยางในรูปชื่อฝรั่ง (Fiddle shaped leaves)
Ficusparcellii เป็นพันธุ์จากหมู่เกาะแปซิฟิค ใบบางมีลายด่างสีขาวครีม และผลมีสีด่างด้วย
Ficusrubiginosa จากออสเตรเลีย เจริญเติบโตได้ง่าย เช่น F. elasticaสำหรับพันธุ์ Ficusอื่น ๆ ที่เลื้อยก็มี เช่น F. pumila (repens) ใช้ปลูกคลุมกำแพงที่เราเรียกกันว่า ตีนตุ๊กแก


การขยายพันธุ์
วิธีตัดชำเป็นวิธีที่ดีที่สุดสำหรับ Fi­cuselasticadecoraโดยตัดกิ่งที่แก่พอสมควรออกเป็นท่อน ๆ ท่อนหนึ่งที่ข้อและใบติดมาด้วยหนึ่งใบ นำไปชำในกระบะทรายหรือถ่านแกลบ ให้ใบที่ติดมากับต้นนั้นอยู่เหนือวัตถุ ปักชำเพื่อกันกิ่งชำล้ม อาจมีหลักไม้ผูกนาบกับใบไว้ด้วย เพราะใบใหญ่และหนักกว่ากิ่งที่ตัดมาชำ ตาที่โคนใบจะแตกเป็นยอดต้นใหม่ขึ้นพร้อมทั้งรากจะแตกออกได้ไม่ยากนัก ส่วนยางด่าง (F. elasticavariegata) นั้น การตอนได้ผลดีกว่าการปักชำ เพราะธรรมชาติอ่อนแออยู่แล้วในเมืองไทย ถ้าปักชำก็โตช้าและรูปร่างสูงชลูดไม่ค่อยงามนัก ข้อเสียของยางด่างอีกข้อหนึ่งก็คือทิ้งใบและใบร่วงตามโคนต้นได้ง่าย ใบที่มีส่วนต่าง ๆ ถูกแดดมากอาจไหม้เกรียมได้ง่าย ๆ
การตอน เป็นวิธีขยายพันธุ์ยางอินเดียที่นิยมทำกับส่วนยอดของต้น เพราะจะได้ต้นใหม่ที่มีรูปร่างทรงสวยงามทันใจ การตอนก็ตอนแบบธรรมดา ถึงแม้ยางจะไหลออกมาเวลาขวั้นต้น ก่อนหุ้มดินก็ไม่เป็นอุปสรรคอะไร ประมาณ 10-15 วัน รากก็งอกออกแล้ว ในทางการค้านั้นใช้ยางอินเดียปลูกลงในดินกลางแจ้ง เมื่อต้นยังอ่อนอยู่จะขึ้นเป็นกิ่งเดียวสูงชลูด ถ้าหากไม่มีไม้ค้ำจุนแล้วก็จะโอนเอน ทำให้แตกตาด้านข้างของกิ่งออกมา ดังนั้นในทางการค้าจึงนิยมตอนออกเสียก็จะได้ต้นใหม่ที่มียอดเป็นพุ่มพวงสวยงาม แล้วตอที่ตัดมานั้นก็จะแตกยอดเป็นแขนงใหม่ ตอนไปได้อีกหลายยอด ส่วนตอที่อยู่ต่ำใต้จากยอดที่ตอนไปนั้น ก็ตัดมาทำกิ่งปักชำได้อีก จึงทำให้การขยายพันธุ์ได้ปริมาณมากและเพียงพอในทางการค้า
ดินที่ใช้ปลูกยางอินเดียนั้นควรเป็นดินร่วน ที่มีการระบายน้ำได้ดี และมีปุ๋ยพอสมควร โดยเฉพาะที่ปลูกในกระถางนั้น ควรให้ปุ๋ยน้ำอ่อน ๆ บ้างบางครั้ง และควรทำความสะอาดใบด้วยน้ำสบู่บ้าง จะทำให้ใบมีสีเขียวสดเป็นมัน และทำให้เจริญเติบโตได้ดีขึ้นด้วย
พวกยางอินเดียนี้มีรากอากาศหรือรากพิเศษที่งอกกอกมาจากลำต้นเหนือพื้นดินขึ้นมาด้วย เช่นเดียวกับรากต้นไทร (Ficusbenjamina) นอกจากการตอน การปักชำแล้ว บางชนิดยังใช้วิธีทับกิ่งได้ผลดีกว่าวิธีอื่น ๆ ด้วย เช่น พวกตีนตุ๊กแก (F. pumila)
(ที่มา:  http://www.thaikasetsart.com/%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%
AD%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%A2/)
3.วิธีการทำยางลบ
                การทำยางลบสามารถทำได้จากธรรมชาติแต่ต้องใช้เทคโนโลยีแบบยางแห้ง คือ นำยางธรรมชาติ มาผสมกับสารเคมีที่สำคัญ คือ กำมะถัน สารตัวเร่ง สารกระต้น สี สารช่วยขัดและสารช่วยทำความสะอาด บดผสมรวมกันแล้วนำไปทำให้เป็นเส้นริ้ว ขนาดตามต้องการ และนำไปอบด้วยไอน้ำยางเกิดการวัลคาไนซ์ (ทำใหสุก) แล้วจึงตัดเป็นก้อนตามขนาดที่ต้องการ
(ที่มา: http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=0da1198b578209b1)

4.ประวัติความเป็นมาของยางลบ
               ข้อมูลจากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรีบนอินเตอร์เน็ต ระบุว่า ยางลบ อเมริกันเรียก eraser อังกฤษเรียก rubber คือเครื่องเขียนชนิดหนึ่งใช้สำหรับลบรอยดินสอหรือปากกาที่เขียนบนวัสดุ เช่น กระดาษดินสอส่วนมากจึงมักจะมียางลบติดมาด้วยเพื่อใช้ควบคู่กัน
                  วิธีใช้ใช้ยางลบถูไปมาบนรอยดินสอที่ไม่ต้องการ การทำงานลบรอยคือเนื้อยางลบเสียดสีไปกับรอยดินสอที่ติดบนกระดาษ โดยกระดาษเสียหายน้อยมากเพราะยางลบมีความนุ่ม ยืดหยุ่น ยิ่งลบมากเท่าไรเนื้อยางลบก็หดหายไปเรื่อยๆแต่ที่ยางลบไม่สามารถลบปากกาได้นั้นเพราะปากกาใช้น้ำหมึกที่เขียนแล้วซึมลงในเนื้อกระดาษ ไม่ได้เหลือค้างไว้อย่างรอยดินสอ จึงติดแน่นกว่ายางลบจึงลบไม่ออก แต่ยางลบชนิดแข็งจะขูดเอาผิวหน้าของกระดาษออกไปจนลบหมึกออกหากลบแรงไปบางทีกระดาษขาดเลยก็มี
                      ยางลบนั้นทำมาจากยางเป็นหลักยางที่ว่าคือยางพารา แต่สำหรับยางลบที่ใช้งานเฉพาะทางก็อาจผลิตด้วยไวนิลพลาสติก หรือยางธรรมชาติอื่นๆ ก็ได้ ส่วนมากจะพบเป็นสีขาวแต่ก็สามารถผลิตให้เป็นสีอื่นๆ ได้แล้วแต่ส่วนผสมของวัสดุ
                     ประวัติยางลบที่ปลายดินสอผู้คนในสมัยก่อนใช้ขนมปังสีขาวที่ไม่มีขอบเพื่อลบรอยดินสอแกรไฟต์และถ่านหินซึ่งวิธีนี้บางครั้งยังมีการใช้อยู่โดยศิลปินสมัยใหม่
                     ในปีค.ศ.1770 วิศวกรชาวอังกฤษชื่อ เอ็ดเวิร์ด แนร์น (Edward Nairne) ได้ชื่อว่าเป็นผู้คิดค้นยางลบที่ทำจากยางเป็นคนแรกต้นตอมาจากการที่เอ็ดเวิร์ดไปหยิบก้อนยางแทนที่จะเป็นขนมปังมาถูรอยดินสอโดยไม่ได้ตั้งใจ และค้นพบคุณสมบัติในการลบของยางจากนั้นจึงเริ่มผลิตยางลบออกขาย และมีการรายงานว่ายางลบของเขามีราคา 3 ชิลลิงต่อครึ่งลูกบาศก์นิ้ว ซึ่งแพงมากในสมัยนั้น
                     อย่างไรก็ตามยางลบก็ไม่ได้ทำให้เกิดความสะดวกสบายไปมากกว่าขนมปังเนื่องจากยางลบในขณะนั้นเน่าเสียและย่อยสลายได้เหมือนขนมปัง ต่อมาในปีค.ศ.1839 ชาร์ลส์ กูดเยียร์(Charles Goodyear) ค้นพบกระบวนการวัลคาไนเซชั่น (vulcanization) ซึ่งเป็นวิธีการรักษายางและทำให้เป็นวัสดุที่คงทนถาวรยางลบชนิดนี้จึงเป็นที่นิยมจนถึงปัจจุบัน
                     เมื่อวันที่ 30 มีนาคมค.ศ.1858 ไฮเมน ลิปแมน (Hymen Lipman) จากฟิลาเดลเฟีย มลรัฐเพนซิลเวเนียสหรัฐอเมริกาจดสิทธิบัตรในการติดยางลบเข้ากับปลายดินสออีกข้างหนึ่งเป็นครั้งแรกแต่ในภายหลังถูกยกเลิกเนื่องจากเป็นเพียงการนำอุปกรณ์สองชนิดประกอบเข้าด้วยกัน มากกว่าที่จะเป็นผลิตภัณฑ์ตัวใหม่
                    ประเภทของยางลบในท้องตลาดมีหลายเกรด ตามชนิดของวัสดุและคุณภาพ มีตั้งแต่ราคาก้อนละไม่กี่บาทมีสกรีนลายเนื้อไม่ค่อยดีเพราะทำให้กระดาษเสีย ขึ้นมาจนถึงยางลบทั่วไปสีขาวขุ่นเนื้อค่อนข้างแข็ง มีขี้ยางลบเป็นขุยๆ ผงๆ ราคาปานกลาง
                    ยางลบชนิดที่มีการพัฒนาขึ้นมาให้ไม่มีขี้ยางลบ คือ ชนิด non dust เนื้อจะเหนียวถ้าตั้งใจลบดีๆ ขี้ยางลบจะติดกันออกมาเป็นเส้นยาวๆ ได้ และชนิดที่เขียนว่าพลาสติก อีเรเซอร์ (Plastic Eraser) เป็นประเภทเนื้อเหนียวลักษณะคล้ายชนิดไร้ฝุ่น non dust ยางลบที่ดีมีราคาแพงมีลักษณะคือเนื้อเหนียว ลบสะอาด ออกแรงน้อย
(ที่มา http://campus.sanook.com/u_life/knowledge_05266.php)

 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง

             การศึกษาการทำยางลบจากน้ำยางของต้นยางอินเดีย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการทำยางลบจากน้ำยางของต้นยางอินเดียและสามารถใช้ให้เป็นประโยชน์ในการศึกษาแก่ผู้ศึกษาได้  การค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องดังมีหัวข้อดังต่อไปนี้
1.ลักษณะของต้นยางอินเดีย
2.ต้นยางอินเดีย
3.วิธีการทำยางลบ
4.ประวัติความเป็นมาของยางลบ
1.ลักษณะของต้นยางอินเดีย
ชื่อวิทยาศาสตร์:  Ficusannlata
ชื่อวงศ์:  Moraceae
ชื่อสามัญ:  Banyan Tree, Rubber Plant, IndianRubber Tree
ชื่อพื้นเมือง:  ยางลบ,ลุง
ลักษณะทั่วไป:
    ต้น  เป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ลำต้นมีความสูงประมาณ 10-20 เมตร ลำต้นตรงแตกกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ บางชนิดก็เป็นพุ่มโปร่ง มีรากอากาศห้อยลงมาตามกิ่งก้านและลำต้น ผิวเปลือกเรียบสีขาวปนเทา
     ใบ  เป็นใบเดี่ยวแตกออกจากกิ่ง และส่วนยอดของลำต้น ใบออกเป็นคู่สลับกัน ลักษณะใบ ขนาดใบ และสีสันแตกต่างกันตามพันธุ์
    ดอก  เกิดภายในฐานรองดอกที่มีรูปยาวรีคล้ายผลออกเป็นคู่ข้างกิ่ง  ดอกเล็ก
    ฝัก/ผล  กลมรี เมื่อสุกสีเหลือง เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0 . 8 เซนติเมตร
การปลูก:  ปลูกในแปลงปลูก ปลูกในกระถาง
การดูแลรักษา:  ชอบดินร่วนซุย ต้องการปริมาณน้ำปานกลาง ชอบแสงแดดจัด
การขยายพันธุ์:  การปักชำ การตอน การใช้เมล็ด วิธีที่นิยมและได้ผลดีคือ การตอนและการปักชำ
การใช้ประโยชน์:
    -    ไม้ประดับ
    -    น้ำยางใช้ทำยาง
ถิ่นกำเนิด:  ประเทศอินเดีย หมู่เกาะมลายู
*เป็นพืชดูดสารพิษช่วยฟอกอากาศภายในบ้านและสำนักงานได้อย่างดีเยี่ยม
(ที่มา:http://www.nanagarden.com/%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B8%9E%E0%B8%A4%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%A2-10314-13.html)
  2.ต้นยางอินเดีย
ยาง (Ficus) เป็นพวกไม้ยืนต้นที่มีใบเขียวตลอดปี (evergreen) มีทั้งไม้พุ่มไม้เลื้อย และไม้ยืนต้น พบในป่าแถบร้อน บางชนิดขึ้นได้ดีในที่กลางแจ้ง และมีหลายชนิดที่ใช้เป็นไม้ประดับภายในอาคาร พวก Ficusอยู่ในวงศ์ Mal- berry หรือ Family Moraceaeส่วนมากมียางสีขาวเมื่อเปลือกถูกตัดดอก มี 2-3 ชนิดที่มียางมาก และเคยใช้ยางเหล่านี้มาทำประโยชน์ เช่นเดียวกับยางพาราในขณะนี้ Ficusเป็นชื่อลาตินที่มีความหมายว่า ต้นมะเดื่อ (Fig Tree) มีรากพิเศษขึ้นอยู่เหนือพื้นดิน พันธุ์ไม้ในพวก Ficusนี้มีในเมืองไทยมานานแล้ว ซึ่งรวมถึงต้นไทรย้อย (F. benjamina) คร่าง (F. altissima), โพธิ์ (F. relig-iosa) พันธุ์ไม้พวก Ficusนี้ใช้ปลูกเป็นไม้กระถางได้หลายชนิด และใช้ปลูกทำเป็นไม้แคระก็ได้ (Bonsai หรือ Miniature tree)
พันธุ์
ยางอินเดีย (Rubber Plant) Ficuselasticadecoraใช้ปลูกเป็นไม้กระถาง ต้นใหญ่ ใบใหญ่ หนาดก สีเขียวสดเป็นมัน
สวนยางอินเดียชนิดมีใบด่างสีเหลืองสลับเขียวอ่อนนั้น คือ Ficuselasticavariegataคือ ยางด่างที่ปลูกกันในเมืองไทย อ่อนแอ ไม่แข็งแรงเท่าพวก F. Elasticadecoraทั้งสองชนิดนี้มีปลูกกันมากในประเทศไทย เพราะขยายพันธุ์ได้ง่ายและเจริญเติบโตดี
นอกจากนี้มีอีกพันธุ์หนึ่งที่นิยมปลูกกันในเมืองไทยเป็นไม้ประดับกันคือ Ficuslyrataใบอาจใหญ่ยาวถึง 18 นิ้ว สีเขียวอ่อน ด้านไม่เป็นมันเหมือน F. elasticadecoraขอบใบอาจเป็นลอนขึ้นๆ ลงๆ เส้นใบนูนเห็นได้ชัด ใบสากคล้าย ๆ มีขนอยู่ทั่ว ๆ ไป ซึ่งเรียกลักษณะใบว่า ยางในรูปชื่อฝรั่ง (Fiddle shaped leaves)
Ficusparcellii เป็นพันธุ์จากหมู่เกาะแปซิฟิค ใบบางมีลายด่างสีขาวครีม และผลมีสีด่างด้วย
Ficusrubiginosa จากออสเตรเลีย เจริญเติบโตได้ง่าย เช่น F. elasticaสำหรับพันธุ์ Ficusอื่น ๆ ที่เลื้อยก็มี เช่น F. pumila (repens) ใช้ปลูกคลุมกำแพงที่เราเรียกกันว่า ตีนตุ๊กแก


การขยายพันธุ์
วิธีตัดชำเป็นวิธีที่ดีที่สุดสำหรับ Fi­cuselasticadecoraโดยตัดกิ่งที่แก่พอสมควรออกเป็นท่อน ๆ ท่อนหนึ่งที่ข้อและใบติดมาด้วยหนึ่งใบ นำไปชำในกระบะทรายหรือถ่านแกลบ ให้ใบที่ติดมากับต้นนั้นอยู่เหนือวัตถุ ปักชำเพื่อกันกิ่งชำล้ม อาจมีหลักไม้ผูกนาบกับใบไว้ด้วย เพราะใบใหญ่และหนักกว่ากิ่งที่ตัดมาชำ ตาที่โคนใบจะแตกเป็นยอดต้นใหม่ขึ้นพร้อมทั้งรากจะแตกออกได้ไม่ยากนัก ส่วนยางด่าง (F. elasticavariegata) นั้น การตอนได้ผลดีกว่าการปักชำ เพราะธรรมชาติอ่อนแออยู่แล้วในเมืองไทย ถ้าปักชำก็โตช้าและรูปร่างสูงชลูดไม่ค่อยงามนัก ข้อเสียของยางด่างอีกข้อหนึ่งก็คือทิ้งใบและใบร่วงตามโคนต้นได้ง่าย ใบที่มีส่วนต่าง ๆ ถูกแดดมากอาจไหม้เกรียมได้ง่าย ๆ
การตอน เป็นวิธีขยายพันธุ์ยางอินเดียที่นิยมทำกับส่วนยอดของต้น เพราะจะได้ต้นใหม่ที่มีรูปร่างทรงสวยงามทันใจ การตอนก็ตอนแบบธรรมดา ถึงแม้ยางจะไหลออกมาเวลาขวั้นต้น ก่อนหุ้มดินก็ไม่เป็นอุปสรรคอะไร ประมาณ 10-15 วัน รากก็งอกออกแล้ว ในทางการค้านั้นใช้ยางอินเดียปลูกลงในดินกลางแจ้ง เมื่อต้นยังอ่อนอยู่จะขึ้นเป็นกิ่งเดียวสูงชลูด ถ้าหากไม่มีไม้ค้ำจุนแล้วก็จะโอนเอน ทำให้แตกตาด้านข้างของกิ่งออกมา ดังนั้นในทางการค้าจึงนิยมตอนออกเสียก็จะได้ต้นใหม่ที่มียอดเป็นพุ่มพวงสวยงาม แล้วตอที่ตัดมานั้นก็จะแตกยอดเป็นแขนงใหม่ ตอนไปได้อีกหลายยอด ส่วนตอที่อยู่ต่ำใต้จากยอดที่ตอนไปนั้น ก็ตัดมาทำกิ่งปักชำได้อีก จึงทำให้การขยายพันธุ์ได้ปริมาณมากและเพียงพอในทางการค้า
ดินที่ใช้ปลูกยางอินเดียนั้นควรเป็นดินร่วน ที่มีการระบายน้ำได้ดี และมีปุ๋ยพอสมควร โดยเฉพาะที่ปลูกในกระถางนั้น ควรให้ปุ๋ยน้ำอ่อน ๆ บ้างบางครั้ง และควรทำความสะอาดใบด้วยน้ำสบู่บ้าง จะทำให้ใบมีสีเขียวสดเป็นมัน และทำให้เจริญเติบโตได้ดีขึ้นด้วย
พวกยางอินเดียนี้มีรากอากาศหรือรากพิเศษที่งอกกอกมาจากลำต้นเหนือพื้นดินขึ้นมาด้วย เช่นเดียวกับรากต้นไทร (Ficusbenjamina) นอกจากการตอน การปักชำแล้ว บางชนิดยังใช้วิธีทับกิ่งได้ผลดีกว่าวิธีอื่น ๆ ด้วย เช่น พวกตีนตุ๊กแก (F. pumila)
(ที่มา:  http://www.thaikasetsart.com/%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%
AD%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%A2/)
3.วิธีการทำยางลบ
                การทำยางลบสามารถทำได้จากธรรมชาติแต่ต้องใช้เทคโนโลยีแบบยางแห้ง คือ นำยางธรรมชาติ มาผสมกับสารเคมีที่สำคัญ คือ กำมะถัน สารตัวเร่ง สารกระต้น สี สารช่วยขัดและสารช่วยทำความสะอาด บดผสมรวมกันแล้วนำไปทำให้เป็นเส้นริ้ว ขนาดตามต้องการ และนำไปอบด้วยไอน้ำยางเกิดการวัลคาไนซ์ (ทำใหสุก) แล้วจึงตัดเป็นก้อนตามขนาดที่ต้องการ
(ที่มา: http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=0da1198b578209b1)

4.ประวัติความเป็นมาของยางลบ
               ข้อมูลจากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรีบนอินเตอร์เน็ต ระบุว่า ยางลบ อเมริกันเรียก eraser อังกฤษเรียก rubber คือเครื่องเขียนชนิดหนึ่งใช้สำหรับลบรอยดินสอหรือปากกาที่เขียนบนวัสดุ เช่น กระดาษดินสอส่วนมากจึงมักจะมียางลบติดมาด้วยเพื่อใช้ควบคู่กัน
                  วิธีใช้ใช้ยางลบถูไปมาบนรอยดินสอที่ไม่ต้องการ การทำงานลบรอยคือเนื้อยางลบเสียดสีไปกับรอยดินสอที่ติดบนกระดาษ โดยกระดาษเสียหายน้อยมากเพราะยางลบมีความนุ่ม ยืดหยุ่น ยิ่งลบมากเท่าไรเนื้อยางลบก็หดหายไปเรื่อยๆแต่ที่ยางลบไม่สามารถลบปากกาได้นั้นเพราะปากกาใช้น้ำหมึกที่เขียนแล้วซึมลงในเนื้อกระดาษ ไม่ได้เหลือค้างไว้อย่างรอยดินสอ จึงติดแน่นกว่ายางลบจึงลบไม่ออก แต่ยางลบชนิดแข็งจะขูดเอาผิวหน้าของกระดาษออกไปจนลบหมึกออกหากลบแรงไปบางทีกระดาษขาดเลยก็มี
                      ยางลบนั้นทำมาจากยางเป็นหลักยางที่ว่าคือยางพารา แต่สำหรับยางลบที่ใช้งานเฉพาะทางก็อาจผลิตด้วยไวนิลพลาสติก หรือยางธรรมชาติอื่นๆ ก็ได้ ส่วนมากจะพบเป็นสีขาวแต่ก็สามารถผลิตให้เป็นสีอื่นๆ ได้แล้วแต่ส่วนผสมของวัสดุ
                     ประวัติยางลบที่ปลายดินสอผู้คนในสมัยก่อนใช้ขนมปังสีขาวที่ไม่มีขอบเพื่อลบรอยดินสอแกรไฟต์และถ่านหินซึ่งวิธีนี้บางครั้งยังมีการใช้อยู่โดยศิลปินสมัยใหม่
                     ในปีค.ศ.1770 วิศวกรชาวอังกฤษชื่อ เอ็ดเวิร์ด แนร์น (Edward Nairne) ได้ชื่อว่าเป็นผู้คิดค้นยางลบที่ทำจากยางเป็นคนแรกต้นตอมาจากการที่เอ็ดเวิร์ดไปหยิบก้อนยางแทนที่จะเป็นขนมปังมาถูรอยดินสอโดยไม่ได้ตั้งใจ และค้นพบคุณสมบัติในการลบของยางจากนั้นจึงเริ่มผลิตยางลบออกขาย และมีการรายงานว่ายางลบของเขามีราคา 3 ชิลลิงต่อครึ่งลูกบาศก์นิ้ว ซึ่งแพงมากในสมัยนั้น
                     อย่างไรก็ตามยางลบก็ไม่ได้ทำให้เกิดความสะดวกสบายไปมากกว่าขนมปังเนื่องจากยางลบในขณะนั้นเน่าเสียและย่อยสลายได้เหมือนขนมปัง ต่อมาในปีค.ศ.1839 ชาร์ลส์ กูดเยียร์(Charles Goodyear) ค้นพบกระบวนการวัลคาไนเซชั่น (vulcanization) ซึ่งเป็นวิธีการรักษายางและทำให้เป็นวัสดุที่คงทนถาวรยางลบชนิดนี้จึงเป็นที่นิยมจนถึงปัจจุบัน
                     เมื่อวันที่ 30 มีนาคมค.ศ.1858 ไฮเมน ลิปแมน (Hymen Lipman) จากฟิลาเดลเฟีย มลรัฐเพนซิลเวเนียสหรัฐอเมริกาจดสิทธิบัตรในการติดยางลบเข้ากับปลายดินสออีกข้างหนึ่งเป็นครั้งแรกแต่ในภายหลังถูกยกเลิกเนื่องจากเป็นเพียงการนำอุปกรณ์สองชนิดประกอบเข้าด้วยกัน มากกว่าที่จะเป็นผลิตภัณฑ์ตัวใหม่
                    ประเภทของยางลบในท้องตลาดมีหลายเกรด ตามชนิดของวัสดุและคุณภาพ มีตั้งแต่ราคาก้อนละไม่กี่บาทมีสกรีนลายเนื้อไม่ค่อยดีเพราะทำให้กระดาษเสีย ขึ้นมาจนถึงยางลบทั่วไปสีขาวขุ่นเนื้อค่อนข้างแข็ง มีขี้ยางลบเป็นขุยๆ ผงๆ ราคาปานกลาง
                    ยางลบชนิดที่มีการพัฒนาขึ้นมาให้ไม่มีขี้ยางลบ คือ ชนิด non dust เนื้อจะเหนียวถ้าตั้งใจลบดีๆ ขี้ยางลบจะติดกันออกมาเป็นเส้นยาวๆ ได้ และชนิดที่เขียนว่าพลาสติก อีเรเซอร์ (Plastic Eraser) เป็นประเภทเนื้อเหนียวลักษณะคล้ายชนิดไร้ฝุ่น non dust ยางลบที่ดีมีราคาแพงมีลักษณะคือเนื้อเหนียว ลบสะอาด ออกแรงน้อย
(ที่มา http://campus.sanook.com/u_life/knowledge_05266.php)

  เอกสารที่เกี่ยวข้อง
           การศึกษาการทำยางลบจากน้ำยางของต้นยางอินเดีย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการทำยางลบจากน้ำยางของต้นยางอินเดียและสามารถใช้ให้เป็นประโยชน์ในการศึกษาแก่ผู้ศึกษาได้  การค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องดังมีหัวข้อดังต่อไปนี้
1.ลักษณะของต้นยางอินเดีย
2.ต้นยางอินเดีย
3.วิธีการทำยางลบ
4.ประวัติความเป็นมาของยางลบ
1.ลักษณะของต้นยางอินเดีย
ชื่อวิทยาศาสตร์:  Ficusannlata
ชื่อวงศ์:  Moraceae
ชื่อสามัญ:  Banyan Tree, Rubber Plant, IndianRubber Tree
ชื่อพื้นเมือง:  ยางลบ,ลุง
ลักษณะทั่วไป:
    ต้น  เป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ลำต้นมีความสูงประมาณ 10-20 เมตร ลำต้นตรงแตกกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ บางชนิดก็เป็นพุ่มโปร่ง มีรากอากาศห้อยลงมาตามกิ่งก้านและลำต้น ผิวเปลือกเรียบสีขาวปนเทา
     ใบ  เป็นใบเดี่ยวแตกออกจากกิ่ง และส่วนยอดของลำต้น ใบออกเป็นคู่สลับกัน ลักษณะใบ ขนาดใบ และสีสันแตกต่างกันตามพันธุ์
    ดอก  เกิดภายในฐานรองดอกที่มีรูปยาวรีคล้ายผลออกเป็นคู่ข้างกิ่ง  ดอกเล็ก
    ฝัก/ผล  กลมรี เมื่อสุกสีเหลือง เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0 . 8 เซนติเมตร
การปลูก:  ปลูกในแปลงปลูก ปลูกในกระถาง
การดูแลรักษา:  ชอบดินร่วนซุย ต้องการปริมาณน้ำปานกลาง ชอบแสงแดดจัด
การขยายพันธุ์:  การปักชำ การตอน การใช้เมล็ด วิธีที่นิยมและได้ผลดีคือ การตอนและการปักชำ
การใช้ประโยชน์:
    -    ไม้ประดับ
    -    น้ำยางใช้ทำยาง
ถิ่นกำเนิด:  ประเทศอินเดีย หมู่เกาะมลายู
*เป็นพืชดูดสารพิษช่วยฟอกอากาศภายในบ้านและสำนักงานได้อย่างดีเยี่ยม
(ที่มา:http://www.nanagarden.com/%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B8%9E%E0%B8%A4%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%A2-10314-13.html)
  2.ต้นยางอินเดีย
ยาง (Ficus) เป็นพวกไม้ยืนต้นที่มีใบเขียวตลอดปี (evergreen) มีทั้งไม้พุ่มไม้เลื้อย และไม้ยืนต้น พบในป่าแถบร้อน บางชนิดขึ้นได้ดีในที่กลางแจ้ง และมีหลายชนิดที่ใช้เป็นไม้ประดับภายในอาคาร พวก Ficusอยู่ในวงศ์ Mal- berry หรือ Family Moraceaeส่วนมากมียางสีขาวเมื่อเปลือกถูกตัดดอก มี 2-3 ชนิดที่มียางมาก และเคยใช้ยางเหล่านี้มาทำประโยชน์ เช่นเดียวกับยางพาราในขณะนี้ Ficusเป็นชื่อลาตินที่มีความหมายว่า ต้นมะเดื่อ (Fig Tree) มีรากพิเศษขึ้นอยู่เหนือพื้นดิน พันธุ์ไม้ในพวก Ficusนี้มีในเมืองไทยมานานแล้ว ซึ่งรวมถึงต้นไทรย้อย (F. benjamina) คร่าง (F. altissima), โพธิ์ (F. relig-iosa) พันธุ์ไม้พวก Ficusนี้ใช้ปลูกเป็นไม้กระถางได้หลายชนิด และใช้ปลูกทำเป็นไม้แคระก็ได้ (Bonsai หรือ Miniature tree)
พันธุ์
ยางอินเดีย (Rubber Plant) Ficuselasticadecoraใช้ปลูกเป็นไม้กระถาง ต้นใหญ่ ใบใหญ่ หนาดก สีเขียวสดเป็นมัน
สวนยางอินเดียชนิดมีใบด่างสีเหลืองสลับเขียวอ่อนนั้น คือ Ficuselasticavariegataคือ ยางด่างที่ปลูกกันในเมืองไทย อ่อนแอ ไม่แข็งแรงเท่าพวก F. Elasticadecoraทั้งสองชนิดนี้มีปลูกกันมากในประเทศไทย เพราะขยายพันธุ์ได้ง่ายและเจริญเติบโตดี
นอกจากนี้มีอีกพันธุ์หนึ่งที่นิยมปลูกกันในเมืองไทยเป็นไม้ประดับกันคือ Ficuslyrataใบอาจใหญ่ยาวถึง 18 นิ้ว สีเขียวอ่อน ด้านไม่เป็นมันเหมือน F. elasticadecoraขอบใบอาจเป็นลอนขึ้นๆ ลงๆ เส้นใบนูนเห็นได้ชัด ใบสากคล้าย ๆ มีขนอยู่ทั่ว ๆ ไป ซึ่งเรียกลักษณะใบว่า ยางในรูปชื่อฝรั่ง (Fiddle shaped leaves)
Ficusparcellii เป็นพันธุ์จากหมู่เกาะแปซิฟิค ใบบางมีลายด่างสีขาวครีม และผลมีสีด่างด้วย
Ficusrubiginosa จากออสเตรเลีย เจริญเติบโตได้ง่าย เช่น F. elasticaสำหรับพันธุ์ Ficusอื่น ๆ ที่เลื้อยก็มี เช่น F. pumila (repens) ใช้ปลูกคลุมกำแพงที่เราเรียกกันว่า ตีนตุ๊กแก
การขยายพันธุ์
วิธีตัดชำเป็นวิธีที่ดีที่สุดสำหรับ Fi­cuselasticadecoraโดยตัดกิ่งที่แก่พอสมควรออกเป็นท่อน ๆ ท่อนหนึ่งที่ข้อและใบติดมาด้วยหนึ่งใบ นำไปชำในกระบะทรายหรือถ่านแกลบ ให้ใบที่ติดมากับต้นนั้นอยู่เหนือวัตถุ ปักชำเพื่อกันกิ่งชำล้ม อาจมีหลักไม้ผูกนาบกับใบไว้ด้วย เพราะใบใหญ่และหนักกว่ากิ่งที่ตัดมาชำ ตาที่โคนใบจะแตกเป็นยอดต้นใหม่ขึ้นพร้อมทั้งรากจะแตกออกได้ไม่ยากนัก ส่วนยางด่าง (F. elasticavariegata) นั้น การตอนได้ผลดีกว่าการปักชำ เพราะธรรมชาติอ่อนแออยู่แล้วในเมืองไทย ถ้าปักชำก็โตช้าและรูปร่างสูงชลูดไม่ค่อยงามนัก ข้อเสียของยางด่างอีกข้อหนึ่งก็คือทิ้งใบและใบร่วงตามโคนต้นได้ง่าย ใบที่มีส่วนต่าง ๆ ถูกแดดมากอาจไหม้เกรียมได้ง่าย ๆ
การตอน เป็นวิธีขยายพันธุ์ยางอินเดียที่นิยมทำกับส่วนยอดของต้น เพราะจะได้ต้นใหม่ที่มีรูปร่างทรงสวยงามทันใจ การตอนก็ตอนแบบธรรมดา ถึงแม้ยางจะไหลออกมาเวลาขวั้นต้น ก่อนหุ้มดินก็ไม่เป็นอุปสรรคอะไร ประมาณ 10-15 วัน รากก็งอกออกแล้ว ในทางการค้านั้นใช้ยางอินเดียปลูกลงในดินกลางแจ้ง เมื่อต้นยังอ่อนอยู่จะขึ้นเป็นกิ่งเดียวสูงชลูด ถ้าหากไม่มีไม้ค้ำจุนแล้วก็จะโอนเอน ทำให้แตกตาด้านข้างของกิ่งออกมา ดังนั้นในทางการค้าจึงนิยมตอนออกเสียก็จะได้ต้นใหม่ที่มียอดเป็นพุ่มพวงสวยงาม แล้วตอที่ตัดมานั้นก็จะแตกยอดเป็นแขนงใหม่ ตอนไปได้อีกหลายยอด ส่วนตอที่อยู่ต่ำใต้จากยอดที่ตอนไปนั้น ก็ตัดมาทำกิ่งปักชำได้อีก จึงทำให้การขยายพันธุ์ได้ปริมาณมากและเพียงพอในทางการค้า
ดินที่ใช้ปลูกยางอินเดียนั้นควรเป็นดินร่วน ที่มีการระบายน้ำได้ดี และมีปุ๋ยพอสมควร โดยเฉพาะที่ปลูกในกระถางนั้น ควรให้ปุ๋ยน้ำอ่อน ๆ บ้างบางครั้ง และควรทำความสะอาดใบด้วยน้ำสบู่บ้าง จะทำให้ใบมีสีเขียวสดเป็นมัน และทำให้เจริญเติบโตได้ดีขึ้นด้วย
พวกยางอินเดียนี้มีรากอากาศหรือรากพิเศษที่งอกกอกมาจากลำต้นเหนือพื้นดินขึ้นมาด้วย เช่นเดียวกับรากต้นไทร (Ficusbenjamina) นอกจากการตอน การปักชำแล้ว บางชนิดยังใช้วิธีทับกิ่งได้ผลดีกว่าวิธีอื่น ๆ ด้วย เช่น พวกตีนตุ๊กแก (F. pumila)
(ที่มา:  http://www.thaikasetsart.com/%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%
AD%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%A2/)
3.วิธีการทำยางลบ
                การทำยางลบสามารถทำได้จากธรรมชาติแต่ต้องใช้เทคโนโลยีแบบยางแห้ง คือ นำยางธรรมชาติ มาผสมกับสารเคมีที่สำคัญ คือ กำมะถัน สารตัวเร่ง สารกระต้น สี สารช่วยขัดและสารช่วยทำความสะอาด บดผสมรวมกันแล้วนำไปทำให้เป็นเส้นริ้ว ขนาดตามต้องการ และนำไปอบด้วยไอน้ำยางเกิดการวัลคาไนซ์ (ทำใหสุก) แล้วจึงตัดเป็นก้อนตามขนาดที่ต้องการ
(ที่มา: http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=0da1198b578209b1)
4.ประวัติความเป็นมาของยางลบ
               ข้อมูลจากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรีบนอินเตอร์เน็ต ระบุว่า ยางลบ อเมริกันเรียก eraser อังกฤษเรียก rubber คือเครื่องเขียนชนิดหนึ่งใช้สำหรับลบรอยดินสอหรือปากกาที่เขียนบนวัสดุ เช่น กระดาษดินสอส่วนมากจึงมักจะมียางลบติดมาด้วยเพื่อใช้ควบคู่กัน
                  วิธีใช้ใช้ยางลบถูไปมาบนรอยดินสอที่ไม่ต้องการ การทำงานลบรอยคือเนื้อยางลบเสียดสีไปกับรอยดินสอที่ติดบนกระดาษ โดยกระดาษเสียหายน้อยมากเพราะยางลบมีความนุ่ม ยืดหยุ่น ยิ่งลบมากเท่าไรเนื้อยางลบก็หดหายไปเรื่อยๆแต่ที่ยางลบไม่สามารถลบปากกาได้นั้นเพราะปากกาใช้น้ำหมึกที่เขียนแล้วซึมลงในเนื้อกระดาษ ไม่ได้เหลือค้างไว้อย่างรอยดินสอ จึงติดแน่นกว่ายางลบจึงลบไม่ออก แต่ยางลบชนิดแข็งจะขูดเอาผิวหน้าของกระดาษออกไปจนลบหมึกออกหากลบแรงไปบางทีกระดาษขาดเลยก็มี
                      ยางลบนั้นทำมาจากยางเป็นหลักยางที่ว่าคือยางพารา แต่สำหรับยางลบที่ใช้งานเฉพาะทางก็อาจผลิตด้วยไวนิลพลาสติก หรือยางธรรมชาติอื่นๆ ก็ได้ ส่วนมากจะพบเป็นสีขาวแต่ก็สามารถผลิตให้เป็นสีอื่นๆ ได้แล้วแต่ส่วนผสมของวัสดุ
                     ประวัติยางลบที่ปลายดินสอผู้คนในสมัยก่อนใช้ขนมปังสีขาวที่ไม่มีขอบเพื่อลบรอยดินสอแกรไฟต์และถ่านหินซึ่งวิธีนี้บางครั้งยังมีการใช้อยู่โดยศิลปินสมัยใหม่
                     ในปีค.ศ.1770 วิศวกรชาวอังกฤษชื่อ เอ็ดเวิร์ด แนร์น (Edward Nairne) ได้ชื่อว่าเป็นผู้คิดค้นยางลบที่ทำจากยางเป็นคนแรกต้นตอมาจากการที่เอ็ดเวิร์ดไปหยิบก้อนยางแทนที่จะเป็นขนมปังมาถูรอยดินสอโดยไม่ได้ตั้งใจ และค้นพบคุณสมบัติในการลบของยางจากนั้นจึงเริ่มผลิตยางลบออกขาย และมีการรายงานว่ายางลบของเขามีราคา 3 ชิลลิงต่อครึ่งลูกบาศก์นิ้ว ซึ่งแพงมากในสมัยนั้น
                     อย่างไรก็ตามยางลบก็ไม่ได้ทำให้เกิดความสะดวกสบายไปมากกว่าขนมปังเนื่องจากยางลบในขณะนั้นเน่าเสียและย่อยสลายได้เหมือนขนมปัง ต่อมาในปีค.ศ.1839 ชาร์ลส์ กูดเยียร์(Charles Goodyear) ค้นพบกระบวนการวัลคาไนเซชั่น (vulcanization) ซึ่งเป็นวิธีการรักษายางและทำให้เป็นวัสดุที่คงทนถาวรยางลบชนิดนี้จึงเป็นที่นิยมจนถึงปัจจุบัน
                     เมื่อวันที่ 30 มีนาคมค.ศ.1858 ไฮเมน ลิปแมน (Hymen Lipman) จากฟิลาเดลเฟีย มลรัฐเพนซิลเวเนียสหรัฐอเมริกาจดสิทธิบัตรในการติดยางลบเข้ากับปลายดินสออีกข้างหนึ่งเป็นครั้งแรกแต่ในภายหลังถูกยกเลิกเนื่องจากเป็นเพียงการนำอุปกรณ์สองชนิดประกอบเข้าด้วยกัน มากกว่าที่จะเป็นผลิตภัณฑ์ตัวใหม่
                    ประเภทของยางลบในท้องตลาดมีหลายเกรด ตามชนิดของวัสดุและคุณภาพ มีตั้งแต่ราคาก้อนละไม่กี่บาทมีสกรีนลายเนื้อไม่ค่อยดีเพราะทำให้กระดาษเสีย ขึ้นมาจนถึงยางลบทั่วไปสีขาวขุ่นเนื้อค่อนข้างแข็ง มีขี้ยางลบเป็นขุยๆ ผงๆ ราคาปานกลาง
                    ยางลบชนิดที่มีการพัฒนาขึ้นมาให้ไม่มีขี้ยางลบ คือ ชนิด non dust เนื้อจะเหนียวถ้าตั้งใจลบดีๆ ขี้ยางลบจะติดกันออกมาเป็นเส้นยาวๆ ได้ และชนิดที่เขียนว่าพลาสติก อีเรเซอร์ (Plastic Eraser) เป็นประเภทเนื้อเหนียวลักษณะคล้ายชนิดไร้ฝุ่น non dust ยางลบที่ดีมีราคาแพงมีลักษณะคือเนื้อเหนียว ลบสะอาด ออกแรงน้อย
(ที่มา http://campus.sanook.com/u_life/knowledge_05266.php)
  วิธีการศึกษา
การศึกษาการทำยางลบจากน้ำยางของต้นยางอินเดีย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการทำยางลบจากน้ำยางของต้นยางอินเดียคณะผู้รายงานกำหนดขั้นตอน/วิธีการศึกษาไว้ ดังนี้
วัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้
1.มีดสำหรับกรีดยางไม้
2.ภาชนะใส่น้ำยาง
3.บล๊อกสำหรับใส่น้ำยางรูปทรงต่างๆ
4.สารฟอกขาว
5.สีผสมอาหาร
ขั้นตอนการเตรียมงาน
1.             ประชุมสมาชิกในกลุ่มว่าจะทำโครงงานเรื่องอะไร
2.             สมาชิกในกลุ่มช่วยกันคิดหัวข้อคนละ 1 หัวข้อ
3.             สมาชิกในกลุ่มตกลงเลือกหัวข้อเรื่อง การศึกษาการทำยางลบจากยางไม้
4.             สมาชิกในกลุ่มได้แบ่งงานกันไปทำ
ขั้นตอนการดำเนินงาน
1.             ดูข้อมูลจากหนังสือ เว็บไซต์ว่าวิธีการกรีดยางการทำยางลบเราต้องใช้อุปกรณ์อะไรบ้างในการทำยางลบ
2.             นำน้ำยาที่กรีดได้ใส่ภาชนะที่เตรียมไว้แล้วดูว่ายางเมื่อจับตัวกันแล้วจะแข็งตัวได้เร็วขนาดไหน
3.             เมื่อเรารู้แล้วว่าน้ำยางนั้นจับตัวกันเป็นก้อนเร็วขนาดไหนเราก็รีดกรีดยางแล้วนำลงใส่ในบล็อกที่เราเตรียมไว้
4.             รอจนกว่าน้ำยาจะแห้งสนิท
5.             เมื่อน้ำยางแห้งสนิทแล้วเราก็นำน้ำยางออกจากบล็อก
6.             ทดลองว่ายางลบเป็นก้อน แล้วสามารถลบได้สะอาดแค่ไหนเมื่อนำไปทดลองใช้กับนักเรียน และดูว่านักเรียนมีความพึงพอใจมากน้อยเพียงใด

  ผลการศึกษา
 การศึกษาการทำยางลบจากน้ำยางของต้นยางอินเดีย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการทำยางลบจากน้ำยางของต้นยางอินเดียมีผลการศึกษา ดังนี้
การศึกษาการทำยางลบจากน้ำยางของต้นยางอินเดียครั้งนี้เพื่อศึกษาวิธีการทำยางลบจากน้ำยางของต้นยางอินเดีย
เมื่อเราศึกษาการทำยางลบจากยางต้นยางอินเดีย แล้วเราก็นำความรู้นั้นมาทำตามขั้นตอนดังต่อไปนี้

1.             เตรียมอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับกีดยาง คือ มีดสำหรับกรีดยาง ภาชนะสำหรับใส่น้ำยาง ลวด ที่เสียบสำหรับน้ำยางไหล





นำมีดที่เตรียมไว้มากรีดยาง

               

1.               นำที่ลองน้ำยางหรือภาชนะใส่น้ำยางที่เราเตรียมไว้นำมาลองน้ำยาง

          

2.               นำน้ำยางที่อยู่ในภาชนะที่เราเตรียมไว้มาปั้นให้เป็นก้อน






3.               ผลงานจะออกมาเป็นแบบนี้


             จากผลการศึกษาทดลองปรากฏว่าเมื่อเรากรีดน้ำยางออกมาแล้วนั้นน้ำยางแข็งตัวเร็วและน้ำยางที่ไหลนั้นมีปริมาณน้อย จึงต้องแก้ปัญหาโดยการนำภาชนะมาลองน้ำยางให้เต็มเมื่อเต็มได้ตามต้องการแล้วเราก็นำไปผึ่งแดดเมื่อผึ่งแดดจนแห้งแล้วนำออกจากบล็อกปรากฏว่าผลที่ได้นั้นเป็นแผ่นเพราะปริมาณน้ำยางนั้นน้อยจึงทำให้ไม่เป็นก้อนเมื่อแห้งทางกลุ่มของข้าพเจ้าจึงนำน้ำยางที่ได้มาปั้นเป็นก้อนแทนปรากฏว่าน้ำยางที่ก่อนมานั้นได้เป็นก้อนเหมือนยางลบ
 สรุปผลการศึกษา


            การศึกษาการทำยางลบจากน้ำยางของต้นยางอินเดีย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการทำยางลบจากน้ำยางของต้นยางอินเดียสามารถสรุปผลการศึกษาได้ดังนี้
สรุปผลการศึกษา
        การศึกษาการทำยางลบจากน้ำยางของต้นยางอินเดียสรุปได้ว่าสามารถนำมาน้ำยางของต้นยางอินเดียมาทำยางลบได้จริง และยังสามารถลบรอยดินสอได้
ปัญหา/อุปสรรค/ข้อเสนอแนะ
การศึกษาการทำยางลบจากน้ำยางของต้นยางอินเดีย มีปัญหา อุปสรรค์และข้อเสนอแนะดังนี้
1.น้ำยางต้นยางอินเดียเมื่อกรีดออกมานั้นมีปริมาณน้อยและไหลช้าแก้ไขโดยการกรีดน้ำยางในเวลาเช้าหรือฝนตกใหม่ๆ
2.น้ำยางแข็งตัวกันเป็นก้อนเร็ว  แก้ไขโดยรีบปั้นน้ำยางที่ออกมาให้เป็นก้อนให้เร็วที่สุด
3.น้ำยางไม่เป็นก้อนเมื่อแห้ง แก้ไขโดย เติมน้ำยางเข้าไปตลอดเมื่อน้ำยางนั้นแห้ง
4.ต้นยางอินเดียนั้นมีน้อ

 สรุปผลการศึกษา

    การศึกษาการทำยางลบจากน้ำยางของต้นยางอินเดีย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการทำยางลบจากน้ำยางของต้นยางอินเดียสามารถสรุปผลการศึกษาได้ดังนี้

สรุปผลการศึกษา
        การศึกษาการทำยางลบจากน้ำยางของต้นยางอินเดียสรุปได้ว่าสามารถนำมาน้ำยางของต้นยางอินเดียมาทำยางลบได้จริง และยังสามารถลบรอยดินสอได้
ปัญหา/อุปสรรค/ข้อเสนอแนะ
การศึกษาการทำยางลบจากน้ำยางของต้นยางอินเดีย มีปัญหา อุปสรรค์และข้อเสนอแนะดังนี้
1.น้ำยางต้นยางอินเดียเมื่อกรีดออกมานั้นมีปริมาณน้อยและไหลช้าแก้ไขโดยการกรีดน้ำยางในเวลาเช้าหรือฝนตกใหม่ๆ

2.น้ำยางแข็งตัวกันเป็นก้อนเร็ว  แก้ไขโดยรีบปั้นน้ำยางที่ออกมาให้เป็นก้อนให้เร็วที่สุด

3.น้ำยางไม่เป็นก้อนเมื่อแห้ง แก้ไขโดย เติมน้ำยางเข้าไปตลอดเมื่อน้ำยางนั้นแห้ง
4.ต้นยางอินเดียนั้นมีน้อย






จัดทำโดย

1.นายเฉลิมชัย      ศรีโมรา                          เลขที่ 1
2.นายนริชชา        นรสิงห์                           เลขที่ 6
3.นายธนภูมิ กาฬภักดี                                เลขที่ 12
4.นางสาวฐิติมา     กาฬภักดี                      เลขที่ 29
5.นางสาวฐิติมา    อู่ทอง                             เลขที่ 34
6.นางสาวพรพรรณ   เรืองเนตร์                เลขที่ 36
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3





เอกสารอ้างอิง

น้ำชาติ   ประชาชื่น.ยางลบทำมาจากอะไร.(ออนไลน์).เข้าถึงได้
                http://campus.sanook.com. (วันที่ 10/1/2556)
nanaGarden.ลักษณะพฤกษศาสตร์ของยางอินเดีย.(ออนไลน์).เข้าถึงได้
               http://www.nanagarden.com.(วันที่ 10/1/2556)
ไทยเกษตรศาสตร์.ยางอินเดีย.(ออนไลน์).เข้าถึงได้http://www.thaikasetsart.com.              
              (วันที่ 10/1/2556)
กูรู.ยางลบ มีวิธีการทำอย่างไ.(ออนไลน์).เข้าถึงได้  http://guru.google.co.th.
              (วันที่10/1/2556)